ธรรมชาติของคลื่นวิทยุ
พื้นที่เดียวกันใช้ความถี่เดียวกัน จะเกิดผลในการ รับ-ส่ง อย่างไร
1.จะมีการหักล้างกัน จนความเข้มจะน้อยลงจนใช้ไม่ได้
2.จะเกิดการผสมกัน หรือ รวมกันแตกเป็นความถี่ใหม่
3.หากเฟสสัญญาณกลับตรงข้ามกันจะหักล้างกัน
4.ความถี่ที่ต่ำกว่า จะเกิดการสูญเสียน้อยกว่า เดินทางได้ไกลกว่า (กำลังเท่ากัน)

นอกจากนี้ยังอาจเกิดการแปรปรวนไปในรูปแบบต่างๆ อีกมาก ฉนั้นในพื้นที่เดียวกัน จึงใช้ความถี่เดดียวกัน เวลาเดียวกัน ไม่ได้
ในการส่งสัญญาณ วิทยุ หรือ โทรทัศน์ หรือ ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในพื้นที่เดียวกัน จะต้องใช้ ความถี่ที่ต่างกัน
การบริหารความถี่ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ Mobile Phone
-พื้นที่เดียวกันจะต้องใช้ ความถี่ต่างกัน จึงจัดรูปแบบการวางเครือข่ายเป็นรูปรังผึ้ง หรือ เป็น เซล ที่เราเรียกว่า Cell site และมีการกำหนด
—-ความสูงของเสา รับ- ส่ง
—-กำลังส่ง
—-ทิศทางของสายอากาศ

ทั้งนี้เพื่อการควบคุม รัศมีทำการของแต่ละสถานี และ เพื่อไม่ให้รบกวนกันอย่างเด็ดขาด สถานี หรือ เซลไซต์ ข้างเคียงก็ต้องใช้ความถี่แตกต่างกัน เมื่อห่างจากสถานีแรกมากขึ้นจน สัญญาณไปไม่ถึง ก็ใช้ความถี่เดิมกลับมาใช้ใหม่ เราเรียกว่า REUSE FREQUENCY
จากปรากฎการดังกล่าว จึงมีการออกแบบสถานีฐาน หรือ เซลไซต์ เพื่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นแบบรังผึ้ง หรือ แบ่งเขตงานเป็น Cell และบางครั้งเราจะเรียกโทรศัพท์ระบบนี้ว่า Cellula Phone
Cell Site




ระบบสัญญารโทรศัพท์มือถือของ TOT ความถี่ 1200MHz และ 2300 MHz

หลายคนไม่รู้
ความถี่ 1200 MHz ทำงานบนเสา หรือ สถานีฐานของ AIS
ความถี่ 2300 MHz ทำงานบนเสา หรือ สถานีฐานของ DTAC
ระบบบริหารความถี่ที่ใช้ คือ TDD ซึ่งมีแบนด์วิทกว้าง ความเร็วสูง ใช้ในเขตเมืองได้ดีกว่า ตามธรรมชาติของคลื่นความถี่


การใช้สถานีฐานทั้งระบบ ของ TOT นับว่าได้เปรียบเพราะสามารถโรมมิ่งกันได้ จึงเชื่อได้ว่า TOT ชัดทั่วไทยแน่ อีกกรณีหนึ่งก็คือ เทคโนโลยี การบริหารความถี่ TOT ใช้ระบบใหม่ล่าสุด คือ TDD ซึ่งจได้ความเร็วมากกว่า


Feels ทำการตลาดผ่าน โครงการ ซิมปันสุข โดยใช้โครงข่ายของ TOT หรือ NT ในปัจจุบัน
ท่านสามารถเป็น ดีลเลอร์ ได้โดยเข้าร่วมกับโครงการ ซิมปันสุข ลงทุนน้อยมาก ไม่ต้องมีร้าน ไม่ต้องสต๊อกสินค้า สร้างรายได้จากการจำหน่าย ซิมปันสุข ศึกษารายละเอียดได้ที่ http://ipayallthai.com

